ระบบข้อมูลวัสดุสากล IMDS

ระบบข้อมูลวัสดุสากล IMDS

(International Material Data System)

หลักการและเหตุผล

ธุรกิจด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมไฟฟ้า นอกจากเราต้องดำเนินการ Set up ระบบต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนให้สามารถทำการผลิตให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการแล้วนั้น สิ่งหนึ่งที่ทุกบริษัทฯ จะมองข้ามไม่ได้ คือ สินค้าต้องปราศจากสารปนเปื้อนที่เป็นพิษและส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ นั่นก็คือสารเคมีที่จัดอยู่ในจำพวกสารโลหะหนัก อาทิ เช่น โครเมียม แคดเมียม ปรอท ตะกั่ว และอื่น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องยากถ้าผู้ประกอบการไม่มีความรู้ ความเข้าใจอย่างเพียงพอ เพราะนอกจากผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ว่าด้วยเรื่องการควบคุมสารปนเปื้อน คือ ELV, ROHS, REACH, SVHC, 76/769/EEC, PFOS, DMF, WEEE, ตลอดจนข้อกำหนดสารเคมีชนิดอื่น ๆ ที่ทาง OEM และหน่วยงานที่ทำการควบคุมและบังคับใช้กฎหมายได้ประกาศฯ ควบคุม หรือ ห้ามใช้ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่ทุกบริษัทฯ จะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตลอดไปในอนาคต IMDS: International Material Data System หรือ ระบบข้อมูลวัสดุสากล ซึ่งเป็นระบบที่สำคัญมากที่เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมไฟฟ้า ดังนั้นทุกโรงงาน/บริษัท ไม่ว่าจะเป็นเทรดดิ้ง จำเป็นต้องดำเนินการทำข้อมูลในระบบนี้เพื่อ Support ให้กับคู่ค้าของตน หากบริษัทฯใดไม่ดำเนินการจะถูกสั่งห้ามไม่ให้ทำการผลิต ห้ามส่งออกและซื้อขายสินค้าโดยเด็ดขาด

ดังนั้นการฝึกอบรมให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องดังกล่าวข้างต้น นับว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ทำงานที่เกี่ยว และเป็นประโยชน์กับการประกอบธุรกิจต่อไป

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้เข้าใจข้อกำหนดของกฎหมายการควบคุมสารปนเปื้อนในอุตสาหกรรมยานยนต์

2. เพื่อให้สามารถกรอกข้อมูลและจัดทำรายงานได้อย่างถูกต้องตามหลักข้อกฎหมายและมาตรฐานสากล

3. เพื่อให้ทราบถึงการควบคุมสารต้องห้ามหรือสารอันตรายที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ในผลิตภัณฑ์และให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของกฎหมาย

หัวข้อการฝึกอบรม

1. History and background of the IMDS

    – Introduction into the IMDS

   – Registration of a company in the IMDS

   – The European End-of Life Vehicles Directive (ELV)

   – The Restriction of Substance control for automotive industry.

   – Data flow from senders to recipients and data visibility

   – IMDS-guidelines at a glance

2. The IMDS System & Definitions

   – System access and Administration

   – Basic & Complete System Functionality

   – Security concept and confidentiality

   – Material data sheet (MDS) and modules

   – Basic substances list, GADSL and SVHC in the IMDS

   – Process chemicals in IMDS

   – Flat-Bills-Of-Material (FBOM)

   – Components, sub-components, materials, basic substances

   – Modules, product tree structures, nodes

3. Material Data Sheet (MDS) & Exercise

   – Material data sheet (MDS) and modules

   – MDS / Module Ingredient Tree Structure

   – Creating, Modifying, and Submitting a MDS

   – Customer Data Quality Standards

   – Proprietary Information Handing

   – Creation of tree structures

   – Creation and integration of own data

   – Check and integration of received supplier data

   – Check and integration of published data

   – Usage of jokers

   – Internal check routines

   – Material Substance Check

4. Process & Other Functions (Exercise)

   – Application ID Codes, Recycled Data, And Parts Marking

   – Sent / Received Functions

   – Accepting / Rejecting a MDS

   – Copy and New Version Functions

   – Create Copy (Copy), Create Module

   – MDB-actions (internal release, send, publish, propose, for-Ward)

5. IMDS Management & Strategy

   – Supply Chain Management

   – Internal Organization and Data Management

   – Approach to Implementation

   – Data Needs / System Requirements

   – The Future of IMDS

ผู้เข้าฝึกอบรม

– พนักงาน

– หัวหน้างาน

– ผู้จัดการ

ระยะเวลาการฝึกอบรม:

1 วัน (6 ชั่วโมง)

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม:

30 คน

วิธีการฝึกอบรม: บรรยาย 40% กิจกรรมการเรียนรู้ 60%

– เป็นการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) โดยผู้เรียนต้องเรียนรู้ด้วยตัวเอง และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในแนวทางของตัวเอง

– กิจกรรมการเรียนรู้

– การบรรยาย-สาธิต

– ระดมสมอง – เกมประกอบหลักสูตร – กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

– การแสดงบทบาทสมมติ

– วิทยากรทำหน้าที่เพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Facilitator) ทำให้การพัฒนาเป็นไปตามธรรมชาติของผู้เรียนรู้นั้น ๆ

วิธีการประเมินผล

– จากแบบสอบถามและการสังเกต

– จากการสุ่มตัวอย่างทดสอบและทบทวนกลับ

– จากข้อมูลที่ได้รับและการติดตาม วิเคราะห์ประเมินผลจากนามธรรมสู่รูปธรรมจนเกิดประสิทธิผลสูงสุด

ติดต่อสอบถาม

โทร.: 08 9177 1345 (พัชรี)

โทร.: 08 9448 8767 (วฤทธิ์)

อีเมล์: contact@gttc.co.th