วิศวกรอุตสาหกรรม 4.0

หลักการและเหตุผล

ในยุคที่มีการแข่งขันทางด้านอุตสาหกรรมสูง วิศวกรอุตสาหกรรม 4.0 นั้นต้องสามารถมองภาพรวมองค์กรและภาพรวมการทำงาน ในอุตสาหกรรมการผลิต อาทิ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมอื่น ๆ รวมไปถึงธุรกิจอื่นๆ ซึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นหลายๆ ส่วนงาน เริ่มตั้งแต่การก่อสร้างโรงงาน วางผังโรงงาน ติดตั้งเครื่องจักร วางแผนอัตรากำลังคน วางแผนการผลิต วิศวกรรมวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Model) วิศวกรรมการผลิต วางแผนด้านคุณภาพ / วิศวกรรมคุณภาพ การวางแผนทดสอบห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมซ่อมบำรุง วิศวกรรมขนส่ง / โลจิสติก วิศวกรรมการสอบเทียบ เป็นต้น และในโรงงานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีบุคลากรที่เป็น “วิศวกร (Engineer)” ในการทำงานในแต่ละส่วนงานเพื่อให้การดำเนินธุรกิจเดินหน้าและมีประสิทธิภาพ ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 (Industrial 4.0) วิศวกรอุตสาหกรรมยุค 4.0 จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในภาพรวมธุรกิจ ภาพรวมในการทำงานทั้งหมดขององค์กร และจำเป็นอย่างยิ่งที่วิศวกรต้องมีทักษะขั้นพื้นฐานและขั้นสูงด้านวิศวกรรม ด้านการวิเคราะห์ และด้านบริหาร เพื่อลดความผิดพลาด ลดข้อบกพร่อง ลดปัญหา ลดต้นทุนด้านการผลิต ลดต้นทุนด้านคุณภาพ ให้กับองค์กร

ในหลาย ๆองค์กรถ้าวิศวกรมีความสามารถสูงจะทำให้สามารถพัฒนาองค์กรได้อย่างก้าวกระโดด และสามารถแข่งขันและตอบสนองกับปัจจัยต่างๆ เชิงธุรกิจได้ดี

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจบทบาทหน้าที่การเป็นวิศวกรในภาคอุตสาหกรรม

2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถพัฒนาตนเองและปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ อย่างเป็นขั้นตอน

4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะทราบถึงภาพรวมและสามารถวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

5. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะขั้นพื้นฐานและขั้นสูงด้านวิศวกรรม ด้านการวิเคราะห์ และด้านบริหารในอุตสาหกรรม

หัวข้อการฝึกอบรม

วันที่ 1 : วิศวกรอุตสาหกรรม 4.0

• แนวคิดและบทบาทหน้าที่ของวิศวกรอุตสาหกรรม

• การบริหารงานและการจัดการงาน

• การบริหารเวลา

• การบริหารโครงการ

• การบริหารทีม

• การบริหารหัวหน้างาน

• การบริหารผู้ใต้บังคับบัญชา

• เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

• การตอบ E-mail , และโทรศัพท์

• การเตรียมการประชุม

• การบริหารจัดการ การประชุม

• การอ่านแบบทางวิศวกรรม (Drawing) ขั้นพื้นฐานและขั้นสูง

• การอ่านค่าพิกัดความเผื่อทางวิศวกรรมขั้นพื้นฐานและขั้นสูง

• การอ่านค่าความละเอียดผิวงาน

• การกำหนดจุดตรวจและเครื่องมือวัดใน Drawing

• การวางผังโรงงาน

• พื้นฐานการบริหารการผลิต

• การบริหารโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Model)

• การใช้เครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานและขั้นสูง (Measuring Tools)

• การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measuring System Analysis) MSA

• การควบคุมกระบวนการผลิตเชิงสถิติ (Statistical Process Control) SPC

• การวิเคราะห์และประเมิณความสามารถของกระบวนการผลิต

• การวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน

• การประยุกต์ใช้เครื่องมือคุณภาพ QC 7 Tools, 5 GEN, Why-Why Analysis

• 7ส / Autonomous Maintenance (AM) / Karakuri Kaizen เพื่อการเพิ่มผลผลิต

• การตอบข้อร้องเรียนลูกค้า (8D Report , NCR, CAR, 5Why Analysis) ฯลฯ

• การสอนงาน, มอบหมายงาน, ติดตามงาน

• เทคนิคการจัดทำและส่ง Daily Report, Weekly Report, Monthly Report ให้ผู้จัดการ / ผู้บริหาร

• กิจกรรมกลุ่ม Work shop case study + นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย


วันที่ 2 : วิศวกรอุตสาหกรรม 4.0

• การลดต้นทุนในกระบวนการผลิต

• ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดความสูญเปล่า

1. งานระหว่างกระบวนการ (Work-In-process)

2. คุณภาพ (Quality) / การใช้วัตถุดิบให้เกิดประโยชน์สูงสุด

3. เครื่องจักร อุปกรณ์ (Facilities)

4. ค่าใช้จ่าย (Expenses)

5. ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect labor) / ความสามารถของบุคลากร (Talent)

• ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดความสูญเปล่า

1. ความสูญเสียจากการผลิตมากเกินไป (Over Production)

2. ความสูญเสียจากการขนส่ง (Transportation)

3. ความสูญเสียจากการรอคอย (Waiting Time)

4. ความสูญเสียจากสินค้าคงคลัง (Inventory)

5. ความสูญเสียจากผลิตภัณฑ์บกพร่อง (Defects)

6. ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหว (Motion)

7. ความสูญเสียจากกระบวนการมากเกินไป (Over-processing)

• 6 Big Losses สำหรับเครื่องจักร

1.เครื่องจักรเสีย (breakdowns)

2. การปรับตั้งหรือปรับแต่ง (setup and adjustments)

3. การหยุดเล็ก ๆ น้อย ๆ (small stops)

4. การสูญเสียความเร็ว (reduced speed)

5. การควบคุมงานเสียในการปรับตั้ง (start-up rejects)

6. การควบคุมงานเสียในการผลิต (production rejects)

• การอนุรักษ์พลังงาน

-. ระบบระบายอากาศ ( Ventilation System) -. เครื่องเชื่อมไฟฟ้า

-. ระบบอัดอากาศ (Air Compressor) -. เตาอบ

-. พัดลมเป่าระบายอากาศ -. พัดลมดูดระบายอากาศ

-. ระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ -. ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน

-. ระบบมอร์เตอร์ไฟฟ้า -. ระบบส่งจ่ายไฟฟ้า

-. ระบบแสงสว่าง -. ระบบหม้อไอน้า (Boiler)

-. ระบบหอผึ่งน้าเย็น (Cooling Tower) -. อุปกรณ์สานักงาน

• ข้อกำหนดการควบคุมสารปนเปื้อนในอุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

Introduction : ELV / RoHS 1.0, 2.0 / REACH-XV, XIV, XVII, SVHC / IMDS

• กิจกรรมกลุ่ม Work shop case study + นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย ถาม – ตอบย

ผู้เข้าฝึกอบรม

– วิศวกร

– หัวหน้างาน

– ผู้จัดการ

ระยะเวลาการฝึกอบรม:

2 วัน (12 ชั่วโมง)

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม:

30 คน

วิธีการฝึกอบรม: บรรยาย 40% กิจกรรมการเรียนรู้ 60%

– เป็นการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) โดยผู้เรียนต้องเรียนรู้ด้วยตัวเอง และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในแนวทางของตัวเอง

– กิจกรรมการเรียนรู้

– การบรรยาย-สาธิต

– ระดมสมอง – เกมประกอบหลักสูตร – กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

– การแสดงบทบาทสมมติ

– วิทยากรทำหน้าที่เพียงผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Facilitator) ทำให้การพัฒนาเป็นไปตามธรรมชาติของผู้เรียนรู้นั้น ๆ

วิธีการประเมินผล

– จากแบบสอบถามและการสังเกต

– จากการสุ่มตัวอย่างทดสอบและทบทวนกลับ

– จากข้อมูลที่ได้รับและการติดตาม วิเคราะห์ประเมินผลจากนามธรรมสู่รูปธรรมจนเกิดประสิทธิผลสูงสุด

ติดต่อสอบถาม

โทร.: 08 9177 1345 (พัชรี)

โทร.: 08 9448 8767 (วฤทธิ์)

อีเมล์: contact@gttc.co.th